เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์ (Relative Universe) ในการพูดถึงเรื่องใดก็ตามในแง่ของเซต เรามักมีขอบข่ายในการพิจารณาสมาชิกของเซตที่จะกล่าวถึง โดยมีข้อตกลงว่าเราจะไม่กล่าวถึงสิ่งใดนอกเหนือไปจากสมาชิกของเซตที่กำหนดขึ้น เช่น ถ้าเรากำหนดเซตของสมาชิกทุกคนในครอบครัวของผู้เรียนเองให้เป็นเซตใหญ่ที่สุด เราจะเรียกเซตนี้ว่า เอกภพสัมพัทธ์ เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ U โดยมีข้อตกลงว่า เมื่อกล่าวถึงสมาชิกของเซตใด ๆ จะไม่กล่าวถึงสิ่งอื่นที่นอกเหนือจากสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์ อ่านต่อ
วันอังคารที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
โดเมนและเรนจ์
โดเมนและเรนจ์ ใน คณิตศาสตร์ ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ จาก เซต หนึ่งที่เรียกว่า โดเมน ไปยังอีกเซตหนึ่งที่เรียกว่า โคโดเมน (บางคร...
-
ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ของเซต เป็นส่วนหนึ่งของการกระทำระหว่างเซต เรานิยมเขียนออกมา...
-
สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ การคูณ คือ การดำเนินการทางคณิตศาสตร์ อย่างหนึ่ง ทำให้เกิดการเพิ่มหรือลดจำนวนจำนวนหนึ่งเป็น อัต...
-
การให้เหตุผลแบบอุปนัย การให้เหตุผลแบบอุปนัย ( อังกฤษ : Inductive reasoning ) หรือ การให้เหตุผลจากล่างขึ้นบน ( อังกฤษ : bottom-up logic...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น