การให้เหตุผลแบบอุปนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย (อังกฤษ: Inductive reasoning) หรือ การให้เหตุผลจากล่างขึ้นบน (อังกฤษ: bottom-up logic) เป็นวิธีการสรุปผลมาจากการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือการทดลองหลายครั้ง แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไปเนื่องจากการให้เหตุผลแบบอุปนัยเป็นการสรุปผลเกิดจากหลักฐานข้อเท็จจริงที่มีอยู่ ดังนั้นการหาข้อสรุปหรือความจริงโดยใช้วิธีการให้เหตุผลแบบอุปนัยนั้น ไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง ข้อสรุปจะเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูล หลักฐานและข้อเท็จจริงที่นำมาอ้างซึ่งได้แก่ จำนวนข้อมูล และ ข้อมูล อ่านต่อ
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
โดเมนและเรนจ์
โดเมนและเรนจ์ ใน คณิตศาสตร์ ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธ์ จาก เซต หนึ่งที่เรียกว่า โดเมน ไปยังอีกเซตหนึ่งที่เรียกว่า โคโดเมน (บางคร...
-
ยูเนียน อินเตอร์เซกชันและคอมพลีเมนต์ของเซต ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ของเซต เป็นส่วนหนึ่งของการกระทำระหว่างเซต เรานิยมเขียนออกมา...
-
สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ การคูณ คือ การดำเนินการทางคณิตศาสตร์ อย่างหนึ่ง ทำให้เกิดการเพิ่มหรือลดจำนวนจำนวนหนึ่งเป็น อัต...
-
การให้เหตุผลแบบอุปนัย การให้เหตุผลแบบอุปนัย ( อังกฤษ : Inductive reasoning ) หรือ การให้เหตุผลจากล่างขึ้นบน ( อังกฤษ : bottom-up logic...
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น